การตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย

การตรวจพิเศษโดยนำเครื่องมือทางไฟฟ้ามาตรวจวินิจฉัยความผิดปกติของเส้นประสาทและกล้ามเนื้อร่วมกับประวัติและการตรวจร่างกาย ซึ่งสามารถนำมาใช้วินิจฉัยแยกโรค หาตำแหน่งของโรค ระยะเวลาในการดำเนินโรค ความรุนแรงของโรค การฟื้นตัวและการพยากรณ์ของโรค

 

ตัวอย่างโรคที่สามารถตรวจได้จากไฟฟ้าวินิจฉัย

 

การตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยประกอบด้วย

1) การตรวจการนำไฟฟ้าของเส้นประสาท หรือ Nerve conduction study (NCS)

2) การตรวจวินิจฉัยไฟฟ้าในกล้ามเนื้อ หรือ Needle Electromyographic study (EMG)

 

ข้อบ่งชี้ในการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย

 

การเตรียมตัวก่อนเข้ารับการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย

 

การตรวจไฟฟ้าวินิจฉัยมีความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนหรือไม่
          การตรวจนี้เป็นการตรวจที่ค่อนข้างปลอดภัย ขณะเข้ารับการตรวจจะรู้สึกเหมือนถูกกระตุ้นด้วยไฟฟ้าอาจรู้สึกไม่สุขสบายเล็กน้อยแต่ภายหลังหยุดให้ไฟฟ้ากระตุ้น จะไม่มีอาการคงค้าง นอกจากนี้อาจมีอาการระบมจากการใช้เข็มตรวจกล้ามเนื้อได้เล็กน้อย ซึ่งอาการจะหายได้เองภายใน 1-3 วัน

 

ข้อจำกัดในการตรวจไฟฟ้าวินิจฉัย